กลับบล็อคหลัก

Tuesday, February 22, 2022

 

ลำดับที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

เวลา

(ชั่วโมง)

น้ำหนัก

คะแนน

1

กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์

ว 8.   ม.1-3/1

ม.1-3/2 ม.1-3/3ม.1-3/4 ม.1-3/5ม.1-3/6 ม.1-3/7ม.1-3/8 ม.1-3/9

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้าและทดลองอย่างเป็นระบบ และควรฝึกฝนให้เกิดความชำนาญ เพื่อที่จะสามารถ นำไปใช้ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

10

 

2

หน่วยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต

ว 1.1   ม.1/1
         ม.1/2

         ม.1/3

เซลล์ของสิ่งมีชีวิตทั้งเซลล์เดียวและหลายเซลล์ จะมีรูปร่างและลักษณะที่แตกต่างกัน ซึ่งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์จะมีส่วนประกอบที่สำคัญบางอย่างเหมือนกัน แต่ส่วนประกอบเหล่านี้
จะทำหน้าที่แตกต่างกัน

7

 

3

กระบวนการในการ ดำรงชีวิตของพืช
(ตอนที่ 
1)

ว 1.1   ม.1/4
         ม.1/5

           ม.1/6
         ม.1/7

         ม.1/8

         ม.1/9

การแพร่และการออสโมซิส เป็นกระบวนการสารผ่านเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช ส่วนกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชต้องอาศัยปัจจัยที่จำเป็นบางประการเพื่อให้ได้ผลผลิตออกมา
ซึ่งกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงนี้
มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิต

14

 


 

ลำดับที่

ชื่อหน่วยการเรียนรู้

มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด

สาระสำคัญ

เวลา

(ชั่วโมง)

น้ำหนัก

คะแนน

4

กระบวนการในการ
ดำรงชีวิตของพืช
(ตอนที่ 
2)

ว 1.1   ม.1/10
         ม.1/11

           ม.1/12
         ม.1/13

เกสรเพศผู้และเกสรเพศเมียเป็นโครงสร้างที่ใช้ในการสืบพันธุ์ ซึ่งเป็น กระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ของพืชดอก ส่วนการสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศ สามารถใช้ส่วนต่างๆ ของพืชมาช่วยในการขยายพันธุ์ โดยพืชจะมีการตอบสนองต่อแสง น้ำ และการสัมผัสเพื่อความอยู่รอด ซึ่งในปัจจุบันมนุษย์ได้นำเทคโนโลยีชีวภาพ
มาใช้ในการขยายพันธุ์ ปรับปรุงพันธุ์ และเพิ่มผลผลิตของพืชให้ได้ปริมาณและคุณภาพตามที่ต้องการ

10

 

5

สมบัติของสารและ การจำแนกสาร

ว 3.1   ม.1/1
         ม.1/2

ว 3.2   ม.1/1
         ม.1/2

         ม.1/3

การจำแนกสารเป็นกลุ่ม สามารถใช้เนื้อสารและขนาดอนุภาคเป็นเกณฑ์ ปัจจัยบางอย่างมีผลต่อการเปลี่ยนสถานะและการละลายของสารทำให้สมบัติ มวล และพลังงานของสารเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งสามารถใช้แบบ จำลองการจัดเรียงอนุภาคของสารอธิบายสมบัติของสาร และการเรียนรู้เกี่ยวกับสารละลาย สามารถนำไป
ใช้ประโยชน์ทางด้านการเกษตร อุตสาหกรรม และด้านอื่นๆ

11

 

6

สมบัติของสารละลายกรด-เบส

ว 3.1   ม.1/3
         ม.1/4

ผลิตภัณฑ์ที่ใช้ในชีวิตประจำวันอาจมีสมบัติความเป็นกรด-เบสแตกต่างกัน โดยสามารถทดสอบค่า pH ของสารละลายได้ด้วยกระดาษลิตมัส
หรืออินดิเคเตอร์ และควรเลือกใช้ผลิตภัณฑ์ให้ถูกต้องปลอดภัย

8

 


 

โครงสร้างแผนฯ วิชาวิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1

 

เวลา 60 ชั่วโมง

 

หน่วยการเรียนรู้

แผนการจัด
การเรียนรู้

วิธีสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

ทักษะการคิด

เวลา

(ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์

1. การฝึกทักษะทาง วิทยาศาสตร์

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการปฏิบัติ

__

1

2. วิธีการทาง
วิทยาศาสตร์

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

__

1

3. การทดลอง

-  วิธีสอนแบบค้นพบ
(Discovery Method)

__

2

4. การหาข้อมูล

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการเรียนความรู้ ความเข้าใจ

__

2

5. การวัดปริมาณ

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการกลุ่ม

__

2

6. การเขียนรายงาน

-  วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล
ซิปปา
 (CIPPA Model)

__

 

2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

หน่วยพื้นฐานของ สิ่งมีชีวิต

1. ลักษณะและรูปร่างของเซลล์สิ่งมีชีวิต

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความคิด รวบยอด

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

2. อุปกรณ์ที่ใช้ในการส่องดูเซลล์

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

3. โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์พืช และเซลล์สัตว์

-  วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือ : เทคนิค
การต่อเรื่องราว 
(Jigsaw)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการเปรียบเทียบ

3. ทักษะการสรุปความรู้

1

4. การเปรียบเทียบเซลล์พืชและ
เซลล์สัตว์

-  วิธีสอนแบบทดลอง

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2


 

 

หน่วยการเรียนรู้

แผนการจัด
การเรียนรู้

วิธีสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

ทักษะการคิด

เวลา

(ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 3

กระบวนการในการดำรงชีวิตของพืช (ตอนที่ 1)

 

1. กระบวนการแพร่

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสังเกต

4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

2. กระบวนการ
ออสโมซิส

-  วิธีสอนแบบทดลอง

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสังเกต

4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

3. โครงสร้างและกระบวนการทำงานของระบบลำเลียง

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสังเกต

4. ทักษะการให้เหตุผล

5. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

4. การลำเลียงและ
การคายน้ำ

-  วิธีสอนโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

1

5. การเปรียบเทียบโครงสร้างของระบบลำเลียง

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

6. ความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ กระบวนการสร้างความตระหนัก

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

1

7. ปัจจัยที่จำเป็นต่อกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
(
Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสังเกต

4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

8. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง

-  วิธีสอนแบบทดลอง

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสังเกต

4. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2


 

 

หน่วยการเรียนรู้

แผนการจัด
การเรียนรู้

วิธีสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

ทักษะการคิด

เวลา

(ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4

กระบวนการในการ ดำรงชีวิตของพืช (ตอนที่ 2)

1. การสืบพันธุ์แบบ
ไม่อาศัยเพศ

-  วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ : เทคนิค
เล่าเรื่องรอบวง

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

3. ทักษะการนำความรู้ไปใช้

1

2. ส่วนประกอบ
ของดอก

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

3. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

4. ทักษะการเชื่อมโยง

2

3. การสืบพันธุ์แบบ
อาศัยเพศ

-  วิธีสอนแบบกระบวนการ
กลุ่มสัมพันธ์

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสรุปลงความเห็น

3. ทักษะการนำความรู้ไปใช้

2

4. การตอบสนอง
ของพืชต่อสิ่งเร้า 
(1)

-  วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้
แบบร่วมมือ 
: เทคนิค
การต่อเรื่องราว 
(Jigsaw)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสร้างความรู้

1

5. การตอบสนอง
ของพืชต่อสิ่งเร้า 
(2)

-  วิธีสอนแบบแก้ปัญหา

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

3. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

4. ทักษะการสร้างความรู้

2

6. เทคโนโลยีชีวภาพ สำหรับพืช

-  วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล
ซิปปา (
CIPPA Model)

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสร้างความรู้

3. ทักษะการนำความรู้ไปใช้

2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

สมบัติของสารและ การจำแนกสาร

1. สมบัติของสาร

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการเชื่อมโยง

2

2. การจำแนกสาร

-  วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ : เทคนิค
คู่คิดสี่สหาย

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการเชื่อมโยง

1

3. สารเนื้อเดียว :
สารบริสุทธิ์

-  วิธีสอนโดยการจัดการเรียนรู้ แบบร่วมมือ : เทคนิค
คู่ตรวจสอบ

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการเชื่อมโยง

1

 


 

 

หน่วยการเรียนรู้

แผนการจัด
การเรียนรู้

วิธีสอน/กระบวนการจัดการเรียนรู้

ทักษะการคิด

เวลา

(ชั่วโมง)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5

สมบัติของสารและ การจำแนกสาร (ต่อ)

4. สารเนื้อเดียว :
สารละลาย

-  วิธีสอนโดยใช้วิธีการทาง วิทยาศาสตร์       

1. ทักษะการตั้งสมมติฐาน

2. ทักษะการทดสอบสมมติฐาน

3. ทักษะการสำรวจค้นหา

4. ทักษะการสรุปอ้างอิง

2

5. ปัจจัยที่มีผลต่อการ ละลายของสาร

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ : กระบวนการสร้างความตระหนัก

-   ทักษะการสำรวจค้นหา

 

1

6. การเตรียม
สารละลาย

-  วิธีสอนแบบค้นพบ
(
Discovery Method)

1. ทักษะการสำรวจค้นหา

2. ทักษะการสรุปอ้างอิง

3. ทักษะการนำความรู้ไปใช้

2

7. สารเนื้อผสม

-  วิธีสอนโดยเน้นกระบวนการ กระบวนการเรียนความรู้ ความเข้าใจ

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการจำแนก

3. ทักษะการให้เหตุผล

2

หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

สมบัติของสารละลายกรด-เบส

1. สารละลายกรด

-  วิธีสอนแบบสืบเสาะหาความรู้(Inquiry Method : 5E)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสร้างความรู้

3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

2. สารละลายเบส

-  วิธีสอนตามรูปแบบโมเดล
ซิปปา 
(CIPPA Model)

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสร้างความรู้

3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

3. การตรวจสอบ
สารละลาย
กรด
-เบส

-  วิธีสอนแบบทดลอง

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสร้างความรู้

3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

2

4. การตรวจสอบสารละลาย
กรด
-เบส ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน

-  วิธีสอนแบบโครงงาน

1. ทักษะการสังเกต

2. ทักษะการสร้างความรู้

3. ทักษะการสรุปลงความเห็น

  ลำดับที่ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) น้ำหนัก คะแนน 1 กระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ว  8 . 1     ...